วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


บทที่ สื่อการสอนประเภทกิจกรรม


               เป็นสื่อการสอนที่มีคุณค่าต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนความหมายของสื่อการสอนประเภทกิจกรรมกิจกรรม หมายถึง การที่ผู้เรียนปฎิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้
           สื่อการสอนประเภทกิจกรรม หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์หรือเรียนรู้เนื้อหาบทเรียนด้วยการ ดูการฟัง การสังเกต การทดลอง การสัมผัส จับต้องด้วยตนเอง รวมถึงการร่วมแสดงความคิดเห็น
            ประเภทของสื่อประเภทกิจกรรมการสาธิตการสาธิต คือ กระบวนการที่ผู้สอน หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการแสดง หรือกระทำให้ดูเป็นตัวอย่างพร้อมๆ กับการบอก การอธิบาย ให้ผู้เรียนได้สังเกตและเรียนรู้ ผู้เรียนจเกิดการเรียนรู้จากการสังเกตกระบวนการขั้นตอนการสาธิตนั้นๆ แล้วให้ผู้เรียนซักถาม อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการสาธิต ซึ่งทำให้การสอนแบบสาธิตมีคุณค่าหลายประการคุณค่าของการสาธิต
               .
การสาธิตเป็นสื่อมีคุณค่าต่อกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนดังนี้เป็นจุดรวมความสนใจของผลเรียนการสาธิตเหมาะกับการแสดงเนื้อหาที่เกี่ยวกับกระบวนการได้ดีการสาธิตเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนจึงมีส่วนร่วมอย่างจิงจังช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินสามารถใช้กับกระบวนการเรียนการสอนได้ทั้งวิชาที่ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ประกอบประหยัดค่าใช้จ่าย ทุ่นเวลาประเภทของการสาธิต แบ่งออกเป็น ชนิดการสาธิตวิธี คือ
            วิธีการแสดงวิธีทำสิ่งต่างๆ เพื่อให้ผู้ชมเห็นวิธีการเป็นขั้นตอนต่างๆการสาธิตผล คือ การแสดงให้เห็นผลจากการกระทำตามกระบวนการหรือขั้นตอนต่างๆ
            วัตถุประสงค์ในการสาธิต การสาธิตสามารถนำไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังนี้เพื่อกระตุ้นความสนใจผู้เรียนทั้งในขั้นนำเข้าสู้บทเรียนเพื่อถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติ การสร้างประเด็นให้ผู้เรียนคิดหาทางแก้ปัญหาเพื่อสน้างความเข้าใจในเนื้อหา หลักการ และความคิดรวบยอดของบทเรียนทั้งในขั้นการสอนและการสรุปเนื้อหาบทเรียนเพื่อแก้ปัญหาข้อจำกัดต่างๆ
            ขั้นตอนในการสาธิต ซึ่งมีวิธีการดำเนินงาน อยู่
........3
ขั้นตอน คือ
........ 
การเตรียม การสาธิต
........ 
การประเมินผลขั้นการเตรียม เป็นขั้นรวบรวมเนื้อหา วัสดุอุปกรณ์
.........
การซักซ้อมขั้นตอน การสาธิตก่อนลงมือสาธิตจริง การเตรียมที่ดีย่อมทำให้การสาธิตเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมีขั้นตอนดังนี้กำหนดเป้าหมายของการสาธิตว่าจะให้ผู้เรียนเรียนรู้หรือได้รับ
.               
ประโยชน์อะไรบ้างจากการสาธิตจัดสถานที่ที่จะสาธิตให้เรียบร้อยการสาธิตที่ดีมีประสิทธิภาพในการแสดงต้องเตรียมวัสดุที่จำเป็นให้พร้อมและจัดเรียงไว้ตามลำดับการใช้ทั้งก่อนและหลังการเตรียมความพร้อมใช้กับผู้เรียน โดยวัตถุประสงค์ทดลองซักซ้อมขั้นตอนต่างๆ ให้เกิดความคล่องแคล่ววางแผนหาวิธีกระตุ้นเพื่อดึงดูดความสนใจผู้เรียนตลอดเวลาเตรียมเอกสารประกอบการสาธิตให้พร้อมขั้นการสาธิต เป็นขั้นการแสดงวิธีการหรือกระบวนการประกอบการรรยาย ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
          อธิบายลำดับให้ผู้เรียนเข้าใจเสียก่อนขณะอธิบายครูควรใช้แผ่นภูมิหรือรูปภาพประกอบสร้างบรรยากาศให้เป็นกันเองกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและติดตามโดยวิธีถามเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมขั้นการประเมินผล เมื่อการสาธิตเสร็จสิ้นลงควรทำการประเมินผลทันที อาจทำได้ แบบ
              1 
ประเมินการเรียนของผู้เรียน
              2 
ประเมินผลการสอนของครูสาธิต
              3. 
การจัดนิทรรศการการจัดนิทรรศการ คือ การนำเอาทัศนวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนเช่น แผนภาพ รูปภาพ กราฟ วัสดุ 3มิติ
              2.1 
คุณค่าของนิทรรศการ สื่อนิทรรศการมีคุณค่าต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนคือ ช่วยรวมความคิดที่กระจัดกระจายมาสรุปเป็นความคิดรวบยอดได้ถูกต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการกระทำงานเป็นหมู่คณะ ฝึกความอดทน ความรับผิดชอบ
             2.2 
ประเภทของนิทรรศการ นิทรรศการที่พบเห็นทั่วไปแบ่งได้หลายประเภท ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ คือ
                  2.2.1 
การจำแนกตามขนาดได้แก่ การจัดแสดง นิทรรศการ มหกรรม
                 2.2.2 
การจำแนกตามวัตถุประสงค์ในการจัด
                 2.2.3 
การจำแนกตามระยะเวลา
                 2.2.4 
การจำแนกตามสถานที่
            2.3 
หลักการออกแบบนิทรรศการ ให้มีประสิทธิภาพสามารถดึงดูดความสนใจและให้ประสบการณ์ที่ดีแก่ผู้ชมได้ควรยึดหลักการออกแบบดังนี้
                 2.3.1 
ความเป็นเอกภพ หมายถึง การออกแบบองค์ประกอบต่างๆ ให้สอดคล้องเป็นอันหนึ้งอันเดียวกัน มีความกลมกลืนกันทั้งวัตถุประสงค์ เนื้อหาสาระ วัสดุอุปกรณ์
                 2.3.2 
ความสมดุล หมายถึง ลักษณะการจัดนิทรรศการให้มีสัดส่วนขององค์ประกอบเหมาะสม สวยงาม ก่อให้เกิดความรู้สึกสบาย
                 2.3.3 
การเน้น เป็นการจัดสิ่งเร้าหรือองค์ประกอบให้โดดเด่นเฉพาะ เพื่อกระตุ้นความสนใจให้ผู้ชมสามารถรับรู้และเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์
         2.4 
เกณฑ์การพิจราณานิทรรศการ มีข้อพิจราณาดังนี้2.4.1 ต้องตระหนักว่านิทรรศการนั้น เป็นการจัดให้ผู้ชมดูไม่ใช่จัดให้อ่าน
                 2.4.2 
ต้องดูว่าสถานที่ที่จะจัดนิทรรศการนั้นเหมาะสมหรือไม่
                 2.4.3 
จุดหนึ่งหรือบริเวณหนึ่งที่จัดให้คนดูจะต้องมีจุดมุ่งหมายเดียว
                 2.4.4 
ต้องทำสิ่งยากๆให้ดูง่าย
                 2.4.5 
การใช้สีเป็นการกระตุ้นความรู้สึกของผู้ชมเป็นอย่างดี
                 2.4.6 
ตัวหนังสือจะต้องอ่านง่าย
          2.5 
ขั้นตอนในการจัดนิทรรศการ
                 2.5.1 
ขั้นการวางแผน
                   2.5.1.1 
การตั้งวัตถุประสงค์
                   2.5.1.2 
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
                   2.5.1.3 
การกำหนดเนื้อหา
                   2.5.1.4 
การกำหนดสถานที่
                   2.5.1.5 
การกำหนดเวลา
                   2.5.1.6 
การตั้งงบประมาณ
                   2.5.1.7 
การออกแบบนิทรรศการ
                   2.5.1.8 
จัดเตรียมอุปกรณ์
                   2.5.1.9 
การประชาสัมพันธ์
                   2.5.1.10 
การกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ
        2.5.2 
ขั้นปฏิบัติการผลิตสื่อและการติดตั้ง
                  2.5.2.1 
การจัดวางหรือติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตามที่วางแผนและออกแบบไว้ แต่สามารถปรับปรุงได้บ้างเพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่จริง
                  2.5.2.2 
การติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ทุกชิ้น ต้องมีความมั่นคง แข็งแรง ต้องระวังไม่ให้เกิดความเสียหายหรือเป็นอันตรายระหว่างการนำเสนอ
                  2.5.2.3 
ควรป้องกันอันตรายอย่างรอบคอบจากวัสดุอุปกรณ์ที่มีคม
         2.5.3 
ขั้นการนำเสมอ มีข้อควรปฏิบัติดังนี้
                  2.5.3.1 
ควรจัดพิธีกรให้คำแนะนำประจำกลุ่มเนื้อหาหรือกิจกรรมต่างๆเพื่อตอบข้อสงสัยผู้ชมระหว่างการชมนิทรรศการ
                 2.5.3.2 
ควรตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ
                 2.5.3.3
การประชาสัมพันธ์ภายในต้องใช้เสียงพอเหมาะกับจำนวนผู้ชมและบริเวณงาน
                 2.5.3.4
ควรให้ผู้ชมมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างเต็มใจ
                2.5.3.5
ขณะจัดแสดงอาจต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าบ้างเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์จริง
                2.5.4 
ขั้นการประเมินผล เป็นขั้นตืดตามคุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดนิทรรศการแต่ละครั้ง
    3. 
ประสบการณ์นาฏการประสบการณ์นาฎการ หมายถึง ประสบการณ์ที่ใช้แทนประสบการณ์จริง แต่มิได้หมายความว่าจะต้องเหมือนกับประสบการณ์จริงทุกประการ หรือเลียนแบบจากประสบการณ์จริงทุกอย่างไปก็หาไม่
    4.
การใช้ชุมชนเพื่อศึกษาการใช้ชุมชนเพื่อการศึกษา หมายถึง การใช้แหล่งวิชาการและสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ประโยชน์ของการใช้ชุมนุมเพื่อการศึกษา การใช้ชุมชนศึกษามีประโยชน์ต่อการเรียนรู้หลายประการดังนี้ทำให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับสิ่งแวดล้อมและรู้จักปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นำความรู้จากห้องเรียนไปใช้ชีวิตจริงๆ เป็นการเชื่อมโยงสภาพการณ์ในห้องเรียนกับสภาพความเป็นจริงแหล่งวิชาการในชุมชน ช่วยขยายความรู้เพิ่มเติมจากที่ครูสอนในหลักสูตรให้สมบูรณ์ขึ้นแหล่งวิชาการในชุมชนมีมากอยู่แล้วทั้งสถานที่ และบุคคล ถ้าครูเลือกและนำมาใช้ให้เหมาะสมก็จะได้ผลคุ้มค่าเป็นการเปลี่ยนบรรยากาศในการเรียน ช่วยให้ผู้เรียนได้พบสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ เร้าความสนใจและเพิ่มพูนความเข้าใจฝึกการทำงานร่วมกันอย่างมีมนุษย์สัมพันธ์ สร้างนิสัยช่างซักถาม สังเกตพิจารณา ฝึกความรับผิดชอบ ระเบียบวินัย การตรงต่อเวลาเปิดโอกาสให้ผู้เรียนฝึกทักษะการใช้ภาษาด้านการฟัง การพูด การเขียน การคิดคำนวณ เป็นเหตุเป็นผลเชิงคณิตศาสตร์ และการคิดเหตุผลเชิง ศิลปะปรัชญาเป็นวิธีแก้ปัญหาครูขาดความรู้ความชำนาญบางสาขาในชุมชน ทั้งยังเป็นการสร้างความคุ้นเคยและความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษาและชุมชนแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ในชุมชน แหล่งทรัพยากรเรียนรู้ในชุมชนมีหลายประเภท กล่าวโดยสรุป คือบุคลากร ได้แก่บุคคลผู้มความรู้ความสามารถและประสบการณ์โดยตรงในสาขาอาชีพต่างๆสถานที่วัสดุอุปกรณ์กิจกรรมของชุมชนวิธีการใช้ชุมชนเพื่อการศึกษา
        4.1 
การศึกษาภายในโรงเรียน
       4.2 
การศึกษาในชุมชนใกล้โรงเรียน
       4.3 
การเชิญวิทยากรในท้องถิ่นมาบรรยาย
       4.4 
การไปทัศนาศึกษานอกสถานที่
  5. 
สถานการณ์จำลองการจัดสถานการณ์จำลองเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนที่จะออกไปเผชิญกับปัญหาจริง ๆ เช่น การเตรียมนักศึกษาฝึกสอน ก่อนที่จะออกไปสอนต้องได้รับการฝึกฝนด้านวิชาการสอน วิธีฝึกทักษะอย่างหนึ่งที่ได้ผลดีคือการฝึกจากสถานการณ์จำลอง
      5.1 
การใช้สถานการณ์จำลองในการเรียนการสอน ลำดับขั้นในการใช้สถานการณ์จำลองในการสอน ครูอาจทำได้ดังนี้
               5.1.1 
ผู้สอนเสนอสถานการณ์ที่ทำให้เกิดปัญญา
               5.1.2 
ผู้เรียนศึกษาปัญหารวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางตัดสินใจและแก้ปัญหาตามขั้นตอน
               5.1.3 
แต่ละกลุ่มเสนอวิธีการแก้ปัญหาของตนต่อชั้นเรียน
              5.1.4 
ผู้สอนผู้เรียนช่วยกันประเมินค่าโดยพิจารณาเหตุผลว่าวิธีการใดดีและมีเหตุผลที่ดีที่สุด
     5.2 
ขบวนการแก้ปัญหาในสถานการณ์จำลอง แ นวทางในการแก้ปัญหา สาเหตุของปัญหา รวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ ตัดสินใจเลือกวิธีแก้ปัญหาที่มีเหตุผลดีที่สุด
     5.3 
คุณค่าของการใช้สถานการณ์จำลองในการเรียนการสอน การใช้ประสบการณ์จำลองในการเรียนการสอน
              5.3.1 
เป็นการให้โอกาสผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการต่างๆ
              5.3.2 
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนสูงมาก เกิดความสนุกสนานในการเรียนรู้
              5.3.3 
สามารถจัดประสบการณ์ที่เพิ่มประสิทธิภาพความจำได้ดี สามารถถ่ายทอดสิ่งต่างๆที่เกี่ยวกับสภาพความเป็นจริงในชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
              5.3.4 
สามารถจัดทดลองจริงได้ตามสมมติฐาน
              5.3.5 
ควบคุมเวลาเวลาในการเรียนรู้ได้ดี
   6. 
การศึกษานอกสถานที่การศึกษานอกสถานที่หรือทัศนศึกษา หมายถึง กิจกรรมที่พาผู้เรียนออกไปหาประการณ์นอกห้องเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนที่สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ซึ่งต้องอาศัยการวางแผนและการดำเนินการอย่างมีขั้นตอนเป็นสำคัญ
     6.1 
คุณค่าของการศึกษานอกสถานการณ์ คุณค่าที่มีต่อผู้เรียนช่วยให้ผู้มีประการณ์ตรง ทำให้บทเรียนมีความหมายยิ่งขึ้น
  6.2 ขั้นการเตรียมหรือการวางแผน ก่อนออกไปนอสถานการณ์ที่จะต้องเตรียมหรือวางแผน
        6.2.1 
การเตรียมสำหรับครู โดยการกำหนดวัตถุประสงค์ให้สอสดคล้องกับบทเรียน
       .6.2.2 
การเตรียมสำหรับผู้เรียน โดยวัตถุประสงค์ว่าต้องการเรียนรู้จากการไปทัศนศึกษา
        6.2.3 
ขั้นดำเนินกิจกรรม ในขั้นตอนปฎิบัติตามแผนที่กำหนด
       6.2.4 
ขั้นประเมินผลหรือติดตามผล เมื่อกลับจากการศึกษานอกสถานที่สิ่งที่ต้องทำคือการจัดกิจกรรมประเมินผล                       7. กระบวนการกลุ่มการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่มหรือกลุ่มสัมพันธ์เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับความรู้จากการลงมือร่วมกันปฎิบัติเป็นกลุ่ม
    7.1 
การจัดการเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม หลักการสอนตามทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์แบ่งออกเป็นหลักการใหญ่ๆ ข้อ
        7.1.1 
ตั้งจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอนแต่ละวิชา
        7.1.2 
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คือการจัดกิจกรรมเพื่อให้สนองตามจุดมุ่งหมายในการจัดกิจกรรม
        7.1.3 
การให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ประสบการณ์การเรียนร่วมกัน ในขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะได้วิเคราะห์ถึงสิ่งที่กระทำลงไป
        7.1.4 
การส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถสรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้เมื่อผู้เรียนได้แนวคิดที่ถูกต้องแล้ว
        7.1.5 
การประเมินผล เป็นขั้นสุดท้ายของการเรียนการสอนแบบกิจกรรมกลุ่มวิธีการประเมินผล
   7.2 
ข้อดีและข้อกัดของกระบวนการกลุ่ม การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่มมีข้อดีและข้อจำกัด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น